The wooden portion atop the gate was severely damaged by arson in the 2008 Namdaemun fire.[2]
In the early part of the 20th century, the city walls that surrounded Seoul were demolished by the Japanese Government, ostensibly "to ease the flow of traffic in the area." A visit to Seoul by the Crown Prince of Japan prompted the demolition of the walls around Namdaemun, as the prince was deemed to be too exalted to pass through the gateway.[5] The gate was closed to the public in 1907 after the Japanese colonial authorities constructed an electric tramway nearby. Namdaemun was extensively damaged during the Korean War and was given its last major repair in 1961, with a completion ceremony held on May 14, 1963. [6] It was given the status of "National Treasure No.1"[7] on December 20, 1962.
The Gate was renovated again in 2005 with the building of a lawn around the gate, before being opened once again to the public with much fanfare on March 3, 2006.[8] During the restoration, 182 pages of blueprints for the gate were made as a contingency against any emergencies which may damage the structure.[9]
นัมแดมุน (ประตูใหญ่ทางทิศใต้) คือประตูโบราณที่ตั้งอยู่ในกรุงโซล ประเทศเกาหลีใต้ มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า ซุงเยมุน (숭례문, Sungnyemun ประตูแห่งความเคารพอันเหมาะสม) ถึงแม้จะไม่เป็นที่นิยมก็ตาม ประตูนี้นับได้ว่าเคยเป็นสิ่งก่อสร้างสร้างด้วยไม้ที่เก่าแก่ที่สุดในกรุงโซล การก่อสร้างเริ่มขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 1938 (ค.ศ. 1395) ในรัชกาลของพระเจ้าแทโจ และแล้วเสร็จในอีก 3 ปีต่อมา ประตูบานนี้ได้รับการบูรณะปฏิสังขรณ์เรื่อยมา โดยมีขึ้นในรัชกาลพระเจ้าเซจงมหาราชเมื่อปี พ.ศ. 1990 (ค.ศ. 1447) และ รัชกาลพระเจ้าซองจงปี พ.ศ. 2022 (ค.ศ. 1479)
การซ่อมแซมใหญ่ครั้งสุดท้ายเกิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2505 (ค.ศ. 1962) ซึ่งต่อมาหลังจากการบูรณะแล้วเสร็จ รัฐบาลเกาหลีใต้ได้จัดให้เป็น สมบัติประจำชาติเกาหลีใต้ หมายเลขหนึ่ง เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม ปีเดียวกัน
เมื่อเช้าตรู่วันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 เกิดเหตุลอบวางเพลิง สร้างความเสียหายอย่างหนักทั้งหลัง สะเทือนใจชาวเกาหลีและชาวต่างประเทศ[1] ซึ่งคาดกันว่าจะใช้เวลา 3 ปี งบประมาณกว่า 21 ล้านดอลลาร์สหรัฐในการบูรณะขึ้นมาใหม่
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น